| ร้อยละผู้ป่วย palliative care ได้รับการเยี่ยมบ้านตามแผน (เดือนละครั้ง)* | 64.28 | 12.5 | 34.2 | 68.75 | | เท่ากับ ร้อยละ100 |
| ร้อยละผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตได้รับยาต้านจุลชีพภายใน 1 ชั่วโมง | | | | | | เท่ากับ ร้อยละ 100 |
| จำนวนอุบัติการณ์การคัดแยก under-triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป* | | | | | | 0 |
| ร้อยละอุบัติการณ์การคัดแยก under-triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)* | | | | | | |
| อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล | 1.10 | 0 | 12.11 | 4.9 | | น้อยกว่า ร้อยละ5ต่อพันวันนอน |
| ร้อยละอุบัติการณ์การวินิจฉัยคลาดเคลื่อน (diagnostic error) ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป* | | | | | | |
| ร้อยละอุบัติการณ์การวินิจฉัยคลาดเคลื่อน (diagnostic error) ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)* | | | | | | |
| จำนวนอุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป* | | | | | | เท่ากับ 0 |
| ร้อยละอุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)* | | | | | | เท่ากับ 100 |
| ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยในจากภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต | 3.45 | 5.45 | 1.89 | 11.39 | | น้อยกว่า ร้อยละ10 |
| ร้อยละการส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมงหลังรับเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยในโดยมิได้วางแผน* | 2.55 | 4.43 | 0.98 | 0.65 | | น้อยกว่า ร้อยละ5 |
| ร้อยละการตกเลือดหลังคลอดเฉียบพลันกรณีคลอดทางช่องคลอด | | | | | | น้อยกว่า 5 |
| ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดโดยไม่ได้ฝากครรภ์ (no ANC)* | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ 5 |
| ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะคลอดก่อนกำหนด* | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ 9 |
| ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ 7 |
| ร้อยละอุบัติการณ์ผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ที่ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยรุนแรงระดับ E ขึ้นไป* | | | | | | เท่ากับ 0 |
| ร้อยละอุบัติการณ์ผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ที่ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)* | | | | | | |
| อัตราของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้ายตัวเองซ้ำ* | | | | | | มากกว่า 80 |
| ร้อยละของจํานวนแผนปฏิบัติการ/โครงการที่ดําเนินการตามกลยุทธ์ | | | | | | |
| ร้อยละอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการแก้ไข และมีแนวโน้มดีขึ้น | | | | | | |
| จำนวนอุบัติการณ์ความไม่พร้อมใช้ของระบบสาธารณูปโภค | | | | | | |
| สัดส่วนจำนวนผลตรวจคุณภาพน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหดต่อจำนวนพารามิเตอร์ที่ส่งตรวจ | 100 | 100 | 100 | 100 | | ผลตรวจผ่านเกณฑ์ ตามมาตรฐาน 11 พารามิเตอร์ |
| จำนวนอุบัติการด้านโครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม | | | | | | |
| ร้อยละของเครื่องมือแพทย์สำคัญที่ได้รับการสอบเทียบตามแผน | | | | | | |
| ร้อยละการเกิดไส้ติ่งทะลุในผู้ป่วยโรคไส้ติ่งอักเสบ | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ 5 |
| ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน* | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ9 |
| ระยะเวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับการทำ EKG เมื่อมาถึงโรงพยาบาล | | | | | | น้อยกว่า 10 นาที |
| ร้อยละผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ที่มารับการรักษาภายใน 2 ชั่วโมงนับจากเริ่มมีอาการ (onset to door)* | | | | | | มากกว่า ร้อยละ80 |
| อุบัติการณ์การเกิดเหตุการณ์ SMI-V* | | | | | | น้อยกว่า 0 |
| ร้อยละผู้ป่วย Stroke ที่มารับการรักษาภายใน 1 ชั่วโมงนับจากเริ่มมีอาการ (onset to door)* | 29.41 | 17.9 | 18.04 | 31.7 | | ร้อยละ80 |
| ร้อยละผู้ป่วย Stroke ที่ได้รับการฟื้นฟู มีระดับคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น* | | | | | | มากกว่า |
| ร้อยละผู้ป่วย stroke fast tract ได้รับการส่งต่อภายใน 60 นาที* | 100 | 100 | 100 | 100 | | ร้อยละ 100 |
| ร้อยละผู้ป่วย Severe Head Injury ที่ได้รับการส่งต่อภายใน 60 นาที | | | | | | ร้อยละ 100 |
| ร้อยละผู้ป่วยโรคปอดบวมที่ได้รับการส่งต่อ ลดลง | 52.5 | 24.8 | 13.95 | 15.38 | | ร้อยละ10 |
| ร้อยละความสำเร็จของการรักษาวัณโรค | | | | | | มากกว่า ร้อยละ 80 |
| ร้อยละผู้ป่วยวัณโรคขาดยาตั้งแต่ 2 เดือนขึ้นไป* | | | | | | น้อยกว่า ร้อยละ 5 |
| ร้อยละการรับกลับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย COPD ภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน | 2.52 | 1.63 | 1.38 | 1.71 | | น้อยกว่า ร้อยละ10 |
| ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วย COPD with AE (respiratory failure) | 2.36 | 2.87 | 2.21 | 2.59 | | น้อยกว่า ร้อยละ5 |
| ร้อยละการติดตามและได้รับการบำบัด ผู้สูบบุหรี่ของประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป | | | | | | มากกว่า 90 |
| ต้นทุนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัด OP/IP* | | | | | | |
| สัดส่วนชั่วโมงการฝึกอบรมต่อคนต่อปีของบุคลากรสายวิชาชีพ allied health | | | | | | มากกว่า 80 |
| สัดส่วนชั่วโมงการฝึกอบรมต่อคนต่อปีของบุคลากรสายสนับสนุน | | | | | | |
| อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดส่วนปลาย (Pheblitis) | 0.14 | 0 | 0.28 | 3.77 | | น้อยกว่า 0 |
| อัตราการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ (ภาพรวม) | 0 | 0 | 0 | 0 | | น้อยกว่า 0 |
| อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาล (healthcare-associated infection) | 1 | 1 | 5 | 6 | | น้อยกว่า 0 |
| ร้อยละของอุบัติการณ์การติดเชื้อใน รพ. ที่ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA) | 100 | 100 | 100 | 100 | | มากกว่า 100 |
| จำนวนอุบัติการณ์การให้เลือด ผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป | | | | | | 0 |
| จำนวนอุบัติการณ์การให้เลือด ผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA) | | | | | | มากกว่า 100 |
| ร้อยละอุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลคลาดเคลื่อน ระดับ E ขึ้นไป* | | | | | | 0 |
| ร้อยละอุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลคลาดเคลื่อน ระดับ E ขึ้นไป มีการทบทวน RCA | | | | | | |
| ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน | 15.86 | 13.82 | 11.17 | | | น้อยกว่า 20 |
| จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป * | 2 | 1 | 3 | 2 | | 0 |
| ร้อยละอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)* | 100 | 100 | 100 | 100 | | 100 |
| อัตรา Prescribing error: OPD (ต่อ 1,000 ใบสั่งยา) | 2.342 | 1.668 | 2.282 | 2.618 | | น้อยกว่า 5 |
| อัตรา Prescribing error: IPD (ต่อ 1,000 วันนอน)* | 0.497 | 0.646 | 0.694 | 1.614 | | น้อยกว่า 5 |
| อัตรา Dispensing error: OPD (ต่อ 1,000 ใบสั่งยา) | 0.585 | 0.092 | 0.101 | 0.240 | | น้อยกว่า 5 |
| อัตรา Dispensing error: IPD (ต่อ 1,000 วันนอน) | 2.783 | 1.015 | 0.781 | 1.699 | | น้อยกว่า 5 |
| อัตรา Administration error: OPD (ต่อ 1,000 ใบสั่งยา) | 0.031 | 0.012 | 0.034 | 0.240 | | น้อยกว่า 5 |
| อัตรา Administration error : IPD (ต่อ 1,000 วันนอน) | 1.292 | 0.553 | 0.868 | 0.765 | | น้อยกว่า 5 |
| จำนวนอุบัติการณ์แพ้ยาซ้ำ | 1 | 0 | 1 | 0 | | 0 |